ผู้เขียน หัวข้อ: การใส่สายยางให้อาหารสายยางที่ถูกต้อง โดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน  (อ่าน 7 ครั้ง)

siritidaphon

  • Hero Member
  • *****
  • กระทู้: 543
    • ดูรายละเอียด
การใส่สายยางให้อาหารสายยางที่ถูกต้อง โดยไม่เกิดภาวะแทรกซ้อน

ในการดูแลผู้ป่วย เพื่อเฝ้าระวังภาวะความเสี่ยงที่สามารถ เกิดอันตรายได้เสมอ การใส่สายยางให้อาหารแก่ผู้ป่วยนั้นคือการให้อาหารหรือผ่านทางสายให้อาหารเข้าสู่ระบบทางเดินอาหารของผู้ป่วย โดยการใส่สายเข้ากระเพาะอาหารเป็นชุดอาการที่พบบ่อยทั้งนี้เพราะผู้ป่วยในห้องตรวจ การใส่สายอย่างให้อาหารเข้ากระเพาะอาหารมีเพียงเพื่อแต่ส่งเสริมภาวะโภชนาการ ยังช่วยในการสืบค้นเพื่อวินิจฉัยและการดูแลรักษา พยาบาลหรือผู้ดูแลจึงต้องใช้ความรู้และมีเทคนิคในการใส่สายให้ได้อย่างถูกต้อง และที่สำคัญป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นได้ ดูที่ใส่สายเข้าทางกระเพาะอาหารเป็นการใส่สายทางรูจมูกผ่านโพรงจมูกไปยังคอ ถึงกระเพาะอาหาร เพื่อวัตถุประสงค์หลักๆคือการให้อาหาร น้ำและยา ในผู้ป่วยรายที่ไม่สามารถหรืออาหารได้เช่นผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวผู้ป่วยอัมพาตรวมถึงผู้ป่วยที่รับประทานอาหารไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย


ซึ่งการคาสายสายยางให้อาหารในกระเพาะอาหารที่ผ่านรูจมูกไม่ควรเกิน 4-6 สัปดาห์ หากเกินมากกว่านั้นจะทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนคือไซนัสอักเสบ หลอดอาหารอักเสบ ผนังกั้นรู้จมูกบัตรเจ็บเป็นเนื้อตาย หรือปลอดอักเสบจากการสำลักได้ หากผู้ป่วยจำเป็นต้องคาสายเข้ากระเพาะอาหารไว้เป็นเวลานานเท่อาจจำเป็นต้องพิจารณาใส่สาย เข้ากระเพาะอาหารผ่านผนังหน้าท้อง ซึ่งขั้นตอนในการใส่สายยางให้อาหารแก่ผู้ป่วยผ่านรูจมูก ผู้ดูแลหรือพยาบาลจะต้องเรียนรู้ขั้นตอนและจำขั้นตอนได้เป็นอย่างดี ที่สำคัญอยู่บนเทคนิคความสะอาดไม่ปนเปื้อน เนื่องจากว่าเป็นการใส่อุปกรณ์เข้าไปในร่างกายการปนเปื้อนจึงเป็นสิ่งที่สำคัญควรระวังเพราะอาจจะทำให้ผู้ป่วยเกิดการติดเชื้อภายในช่องท้องลดอาหารหรือโพรงจมูกได้


การใส่สายยางให้อาหารนั้นมีขั้นตอนดังนี้ เริ่มต้นจากการล้างมือให้สะอาด ทำการตรวจสอบดูรูจมูกผนังกั้นผู้ป่วยว่ามีทางสะดวกหรือไม่อะไรอุดกั้นหรือไม่ ทำการตรวจสอบดูรูจมูกผนังกั้นผู้ป่วยว่ามีทางสะดวกหรือไม่อะไรอุดกั้นหรือไม่ ต่อมาจัดถ้าผู้ป่วยให้นั่งหรือนอนศีรษะสูง หากผู้ป่วยไม่รู้สึกตัวให้นอนหงายหรือท่าศีรษะสูงเล็กน้อย เพื่อให้หลอดอาหารตรงสายสามารถขึ้นลงตามแรงโน้มถ่วงได้ จากนั้นวัดความยาวของสายที่จะใส่เข้าไปในผู้ป่วยโดยวัดจากปลายจมูกถึงติ่งหูและจากติ่งหูถึงปลายกระดูกอก และทำเครื่องหมายมาร์คไว้ เพื่อกำหนดระยะจากรูจมูกเข้าสู่กระเพาะอาหารส่วนต้น ตรวจสอบสายยางให้อาหารไม่มีสิ่งใดอุดตันหรือมีสิ่งแหลมคมจากนั้นตัดพลาสเตอร์ประมาณ 10 เซนติเมตรเพื่อเตรียมแปะที่จมูกผู้ป่วยเข้ากับสายยางไม่ให้เลื่อนหลุด


ถัดมาปูผ้ากันเพื่อนบนหน้าอกความสามรูปไปไว้ใต้คาร์ลให้ผู้ป่วยถือกระดาษเช็ดหน้าไว้เผื่อว่ามีอาการอาเจียนขย้อนมีน้ำมูกหรือน้ำลายไหลได้ ใส่ถุงมือ เตรียมสารหล่อลื่นไปสายโดยทำการหล่อลื่นประมาณ 6-10 cm  เพื่อลดแรงเสียดทานระหว่างเยอะบุและสาย จากนั้นให้ผู้ป่วยนอนศีรษะขึ้นเล็กน้อยให้เห็นรูจมูกชัดเจนค่อยค่อยใส่สายยางเข้าทางรูจมูกอย่างนุ่มนวลให้สายผมลงตามแนวธรรมชาติของโพรงจมูกถ้าติดสายสายไม่ลงอย่าดันแรงให้คือค่อยหมุนซ้ายพร้อมเลื่อนสายเข้าไป เมื่อสายถึงคอให้ผู้ป่วยก้มศีรษะเล็กน้อยและให้ช่วยเตือนช้าๆ เพื่อช่วยในการใส่สายให้ไหลลงได้ง่าย หากผู้ป่วยมีอาการไอสำลักหายใจไม่สะดวกหรือเขียวให้หยุดแล้วดึงสายออกทันทีรอจนกว่าอาการดังกล่าวจะดีขึ้นแล้วค่อยใส่ใหม่ จากนั้นตรวจสอบว่าสายอยู่ในกระเพาะอาหารหรือไม่โดยการใช้กระบอกฉีดดันลมเข้าไปประมาณ 5-10 cc เข้าไปเร็วเร็วพร้อมกับใช้หูฟังเสียงลมผ่านกระเพาะบริเวณหน้าท้องส่วนบนด้านซ้าย

หากได้ยินเสียงลมผ่านของเหลวนั้นแปลว่าสายยางให้อาหารนั้นอยู่ในกระเพาะอาหารเรียบร้อย หรือใช้กระบอกฉีดยาดูดของเหลวในกระเพาะอาหารออกมาถ้าพบว่ามีเศษอาหารขึ้นมานั่นแปลว่าอยู่ในกระเพาะอาหารเช่นกัน หรือถ้าหากให้ผู้ป่วยพูดแล้วไม่มีเสียงแสดงว่าสายยางให้อาหารนั้นผ่านเส้นเสียง ใช้พลาสเตอร์ติดสายยางกับจมูกเพื่อยึดให้อยู่กับที่  และสุดท้ายปิดปลายสายด้านนอกด้วยตกรอบถ้าไม่มีจะครอบให้ใช้ผ้าก๊อซหุ้มใช้ตัวหนีบไว้ ดูแลทำความสะอาดเช็ดสายและช่องปากจมูกให้สะอาดพร้อมสังเกตอาการผิดปกติหลังใส่สายอย่างให้อาหาร

ภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆหลังจากการให้สายยางให้อาหารนั้นสามารถเกิดขึ้นได้เสมอโดยสิ่งที่จำเป็นจะต้องระวังมากที่สุดก็คือป้องกันอย่าให้สายอย่างให้อาหารหลุดเลื่อนโดยที่ก่อนให้อาหารผ่านสายยางให้อาหารทุกครั้งจะต้องทำการตรวจสอบว่าสายยางให้อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารหรือไม่ตามขั้นตอนดังกล่าวที่กล่าวมาข้างต้น  และขณะให้อาหารควรให้อาหารไหลอย่างช้า ๆเพื่อหลีกเลี่ยงแรงดันควรจะอุ่นอาหารก่อนให้อาหารเพื่อลดอาการ ท้องอืดแน่นท้องหรือท้องเสีย


และหลังให้อาหารทุกครั้งจะต้องให้น้ำเพื่อลดอาการท้องผูกได้ อย่างไรก็ตามภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆนั้นสามารถป้องกันได้จากการสังเกตอาการผู้ป่วย ผู้ดูแลหรือพยาบาลจำเป็นต้องสังเกตผู้ป่วยอย่างใกล้ชิดขณะให้อาหารโดยเฉพาะหลังให้อาหารเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนเช่นอาการสำลักหรือจะไอจามได้ เพียงเท่านี้ก็จะทำให้ผู้ป่วยที่ใส่สายยางให้อาหารได้รับอาหารอย่างปลอดภัย ทางเราให้ความสำคัญเรื่องอาหารเหลวแก่ผู้ป่วยที่ใส่ยาให้อาหารเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะรวมถึงการขั้นตอนและอาหารที่ดีมีประโยชน์สะอาดและปลอดภัยแก่ผู้ป่วยนั้นเป็นสิ่งสำคัญมากที่สุด